elearning
|
กลุ่มการเรียนรู้ : วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและพลังงาน |
 |
โบราณสถาน |
|
|
|
|
2 สถานที่ตั้ง
โบราณสถานแห่งที่ 5 อยู่ทางทิศเหนือของโบราณสถานแห่งที่ 1 และ 2 และ3 และ 4 อยู่ประมาณกึ่งกลางค่อนไปทางใต้ของพื้นที่อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ทิศเหนือ อยู่ห่างจากค่ายหลวงหว้ากอประมาณ 18 เส้นหรือประมาณ 720 เมตร
ทิศใต้ อยู่ห่างจากโบราณสถานแห่งที่ 4 ประมาณ 800 เมตร
ทิศตะวันออก อยู่ห่างจากริมหาดแตะน้ำทะเลประมาณ 139 เมตร
ทิศตะวันตก อยู่ห่างจากบริเวณอาคารพลังงาน ประมาณ 200 เมตร
3 ลักษณะแท่นฐานอิฐ
ก่อเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนชำรุดบางส่วน
4 การก่ออิฐสอปูน
ขนาดความยาวด้าน A ประมาณ 2 เมตร 5 เซนติเมตร
ขนาดความยาวด้าน B/H ประมาณ 1 เมตร 25 เซนติเมตร
ขนาดความยาวด้าน C ประมาณ 2 เมตร 12 เซนติเมตร
ขนาดความยาวด้าน D/G ประมาณ 70 เซนติเมตร
ขนาดความยาวด้าน I ประมาณ 1 เมตร 37 เซนติเมตร
ขนาดความยาวด้าน F ประมาณ 1 เมตร 60 เซนติเมตร
ทางเข้าด้าน Eกว้าง ประมาณ 60 เซนติเมตรยาวถึงมุมแหลมA/C ประมาณ 4 เมตร
ขนาดความสูง ประมาณ 100 เซนติเมตร ก่ออิฐซ้อนกัน หลายก้อน
ขนาดของก้อนอิฐกว้างประมาณ 13.5 เซนติเมตรยาว 27 เซนติเมตรสูง 4.5 เซนติเมตร
ขนาดความหนาของผนังประมาณ 42 เซนติเมตร
5 ลักษณะการใช้งาน
เป็นฐานตั้งเครื่องมือวัดความเข้มสนามแม่เหล็กโลก
6 ระยะเวลาการใช้งาน
25 กรกฎาคม-19 สิงหาคม พ.ศ.2411
7 อิฐที่นำมาก่อเป็นแท่นฐาน
นำมาจากประเทศสิงคโปร์ ตามรายงานการสำรวจทางวิทยาศาสตร์เมื่อเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงที่หว้ากอประจวบคีรีขันธ์ ของ เอ็ม สเตฟาน
8 ผู้ใช้ประโยชน์
คณะนักดาราศาสตร์ชาวฝรั่งเศสมี 1 เอ็ม สเตฟาน 2 ทิสเซอร์แรนด์3 ราเยท์ 4 ชาปิแรนด์ 5 แฮต 6 ออลรี 7 เลทัวเนอร์ 8 ปีแอร์ 9 การ์โนลท์
|
หน้าที่ 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 |
|
|
|